โดยพ่อค้าชาวจีนแคะ แต้จิ๋วและกวางตุ้ง ได้ก่อตั้งโรงเรียนเดิมชื่อ ‘ฮั่วเคี้ยว’ และมีนักเรียนทั้งหมดประมาณ 70 คน
สถานการณ์บ้านเมืองเริ่มผันแปรจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง ทางการจึงสั่งปิดโรงเรียนจีนทั่วประเทศภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2489 โรงเรียนเปิดทำการสอนใหม่ภายใต้ชื่อ“ยกฮั้ว หรือ กงลิยิหวา” หรือใช้ชื่อภาษาไทยว่า “ประชาวิทย์”แม้ว่าเศรษฐกิจช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จะยังไม่ฟื้นฟูเท่าที่ควรอันเป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานแต่ทางโรงเรียนก็มิได้ย่อท้อ ดำเนินการสอนอย่างล้มลุกคลุกคลาน
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนประชาวิทย์ – มัธยมวิทยา ได้รับใบอนุญาตก่อตั้งมูลนิธิ เพื่อการศึกษาประชาวิทย์ – มัธยมวิทยาเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2519
พร้อมคณะกรรมการบริหารร่วมอีก 18 ท่าน ณ จุดเริ่มต้นนี้เองท่านประธานและคณะกรรมการบริหารได้ดำเนินการจดทะเบียนเป็นมูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาวิทย์ – มัธยมวิทยาทำการบริหารงานวาง
คุณนิคม เชาว์กิตติโสภณ ได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานมูลนิธิ เพื่อการศึกษาประชาวิทย์ – มัธยมวิทยา และเริ่มการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร Chinese – English Program พร้อมยกระดับภูมิทัศน์ทั้งหมดของโรงเรียน
ยกระดับ Chinese – English Program เป็นฝ่ายสากลศึกษา
โครงการโรงเรียนเครือข่าย เพื่อความเข้าใจอันดีระหว่างชาติ Associated Schools Network Project ขององค์กรการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติแห่งแรกของภาคเหนือ (ยูเนสโก)
ริเริ่มออกแบบเพื่อใช้ Technology Application หรือ PRACHAWIT CYBER SCHOOL NETWORK เพื่อจัดการเรียนการสอนแห่งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พัฒนาหลักสูตรจนสามารถนนำใช้ World Class Standard School หรือ หลักสูตรเทียบเคียงมาตรฐานสากล ซึ่งเป็นหลักสูตรที่รองรับโดยกระทรวงศึกษาธิการ